วันอาทิตย์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2560

ปลาบู่ทอง

ปลาบู่ทอง เป็นนิทานพื้นบ้านของไทย เรื่องราวเกี่ยวกับเด็กสาว
ชาวบ้านผู้มีใจเมตตาและมีความกตัญญูต่อมารดาและบิดาได้แต่งงานกับกษัตริย์ เคยสร้างเป็นภาพยนต์และละครโทรทัศน์มาแล้วหลายครั้งเนื้อเรื่องสนุกสนานเพลิดเพลินและให้แง่คิดสอนใจที่ดีไว้อีกด้วย               


เนื้อเรื่อง


ชชายผู้หนึ่งชื่อ  เป็นชาวบ้านเมืองพาราณสี นายทองมีภรรยา ๒ คนชื่อและขนิษฐาเป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตา โอบอ้อม ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ขนิษฐามี ลูกสาวที่สวยน่ารัก ๑ คนชื่อซึ่งเป็นเด็กสาวที่มีจิตใจดีงาม
ขนิษฐี ภรรยาอีกคนหนึ่งของนายทอง เป็นผู้ที่มีจิตใจหยาบกระด้าง อิจฉาริษยาขนิษฐาและเอื้อยอยู่ตลอดเวลา ขนิษฐีมีลูกสาววัยไล่เลี่ยกับเอื้อย ๒ คน ชื่ออ้ายกับอี่ ซึ่งอุปนิสัยและจิตใจเช่นเดียวกับผู้เป็นแม่ ขนิษฐีและลูกสาวทั้งสองมักหาโอกาสกลั่นแกล้ง รังแกขนิษฐาและเอื้อยโดยหวังกำจัดให้พ้นไปจากบ้าน
วันหนึ่งนายทองออกไปจับปลาตั้งแต่เช้าจนเที่ยงได้ปลาบู่มาหนึ่งตัว จึงนำมาบ้าน ให้ขนิษฐาทำต้มยำปลาบู่ ขนิษฐาพยายามขอชีวิตปลาบู่ไว้แต่ไม่สำเร็จ จึงทำทีว่าจะฆ่า ปลาบู่แล้วแกล้งปล่อยให้หนีลงน้ำไป นายทองและขนิษฐีโกรธจัดจับขนิษฐาลงเรือบังคับให้ ออกไปจับปลากลับมาทำอาหาร แต่ขนิษฐาไม่สามารถจับปลาได้ ซ้ำยังประสบอุบัติเหตุ จนตกจากเรือจมน้ำเสียชีวิตไป ขนิษฐีอยู่บนบ้านเห็นขนิษฐาตกน้ำก็ดีใจ และไม่ได้ช่วยเหลือ แต่อย่างใด เอื้อยกลับมาบ้านในตอนเย็นและทราบว่าแม่ตกน้ำหายไปก็ร้องให้เศร้าโศกเสียใจ
ด้วยผลแห่งกรรมดีที่ขนิษฐากระทำไว้ เทวดาจึงยอมให้ขนิษฐาซึ่งเป็นนางฟ้าอยู่บน สวรรค์กลับลงมาอยู่ใกล้ๆ เอื้อยในร่างของปลาบู่ทอง เมื่อเอื้อยรู้ว่าแม่กลับมาเกิดเป็นปลา บู่ทองอยู่ที่ท่าน้ำก็ดีใจ ทุกวันเอื้อยจะมาพูดคุย และนำอาหารมาให้แม่ปลาบู่ทอง ขนิษฐีและ ลูกๆ สงสัยที่เห็นเอื้อยมีความสุข จึงสะกดรอยตามเอื้อยจนรู้เรื่องปลาบู่ทอง และวางแผนฆ่าแม่ปลาบู่ทองได้สำเร็จ
แม่เป็ดเก็บเกล็ดปลาบู่ทองได้และนำมาให้เอื้อย ขณะเดียวกันขนิษฐาก็อ้อนวอน เทวดาขอลงมาอยู่กับลูกอีก เอื้อยนำเกล็ดปลาไปฝังไว้ในดิน เทวดาสงสารขนิษฐาจึงแปลงร่าง ให้กลายเป็นต้นมะเขือ ต่อมาขนิษฐีสงสัยว่าต้นมะเขือที่มีผลหวานอร่อยคือขนิษฐากลับมาเกิด จึงทำลายต้นมะเขือทิ้งไป
บังเอิญอี่ทำลูกมะเขือหล่นลงไปใต้ถุนบ้าน ปูนาซึ่งเป็นเพื่อนของเอื้อยเก็บได้ จึงนำไป ให้แม่เป็ด เอื้อยได้รับลูกมะเขือจากแม่เป็ดก็แอบไปฝังที่ชายป่า เทวดายอมให้ขนิษฐาลงมา อยู่กับลูกอีกครั้งเป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทอง ซึ่งเมื่อต้องลมก็จะบังเกิดเสียงไพเราะดังกรุ๋งกริ๋ง เอื้อย ก็มีโอกาสมาหาแม่ที่เป็นต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทองได้ทุกวันโดยสามแม่ลูกไม่สงสัย
วันหนึ่งพระเจ้าพรหมทัตผู้ครองกรุงพาราณสีเสด็จประพาสย่านหัวเมือง เพื่อเยี่ยมเยียนราษฎร เมื่อมาถึงชายป่า ทรงสดับเสียงกรุ๋งกริ๋งที่ไพเราะ จึงทรงม้าออกตามหาที่มาของเสียง จนพบต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทองและเอื้อย เอื้อยตกใจวิ่งหนีไปก่อน พระเจ้าพรหมทัตมีพระราชประสงค์จะนำต้นโพธิ์ไปปลูกในวัง แต่ก็ไม่สามารถนำไปได้ จึงทรงประกาศว่าผู้ที่เคลื่อนย้ายต้นไม้ได้จะได้รับรางวัลอย่างงาม
วันรุ่งขึ้นมีคนมาแสดงตัวเป็นเจ้าของของต้นโพธิ์หลายราย หนึ่งในนั้นคือขนิษฐีและลูกสาวทั้งสอง ซึ่งไม่สามารถทำได้ เอื้อยเห็นความมุ่งมั่นของพระเจ้าพรหมทัต และคิดว่าแม่จะมีความสุขหากได้เข้าไปอยู่ในวัง จึงขอให้แม่ยอมเข้าไปอยู่ในวัง แล้วตนจะเข้าไปทำงานรับใช้ในวังเพื่อดูแลต้นโพธิ์จึงยอมขยับเขยื้อน พระเจ้าพรหมทัตดีพระทัยและประกาศรับเอื้อยเข้าวังเป็นมเหสี ท่ามกลางความอิจฉาเคียดแค้นของขนิษฐี อ้ายและอี่ที่เห็นเอื้อยได้ดีต่อหน้าต่อตา
หลายเดือนผ่านไป ขนิษฐี และลูกสาว ทนเก็บความริษยาไว้ไม่ได้ จึงออกอุบายไปส่งข่าวบอกเอื้อยว่าพ่อเจ็บหนักให้กลับมาเยี่ยม พอทราบข่าวเอื้อยก็รีบไปทันที สามแม่ลูกวางแผนให้เอื้อยเดินข้ามสะพานไม้ที่วางหลอกไว้จนเอื้อยตกน้ำตาย แล้วให้อ้ายเข้าไปในวังแทน
เอื้อยเมื่อตายไป เทวดาเห็นว่ายังไม่สิ้นอายุขัยจริง แต่ไม่สามารถกลับเป็นมนุษย์ได้ทันที เอื้อยจึงกลายเป็นนกแขกเต้าบินกลับเข้าวัง และตัดพ้อต่อว่าพระเจ้าพรหมทัต จนพระเจ้าพรหมทัตเกิดความสงสัย ขณะเดียวกันก็ทรงเอ็นดูนกแขกเต้าเป็นอันมาก จึงทรงจับมาเลี้ยงในกรงและเอาใจใส่เป็นอย่างดี กระทั่งอ้ายเกิดความไม่พอใจ และแคลงใจว่านกตัวนี้มีอะไรที่เกียวพันกับเอื้อยก็เป็นได้ จึงหาทางกำจัดแต่นกแขกเต้าก็สามารถหนีไปได้
เมื่อหลบหนีออกมาจากวัง นกแขกเต้าต้องเผชิญกับอันตรายอีกหลายครั้ง จนกระทั่งพบฤาษีในป่า จึงชุบชีวิตให้นกแขกเต้ากลับกลายเป็นเอื้อยดังเดิม และยังได้เศกเด็กผู้ชายคนหนึ่งชื่อลบ ให้เป็นลูกของเอื้อยเพื่อคลายเหงา
ผ่านไปหลายปี เจ้าลบเกิดความสงสัยว่าพ่อเป็นใคร เอื้อยจึงเล่าเรื่องราวต่างๆ ให้ฟัง ทำให้ลบร้องขอที่จะเข้าไปในวังเพื่อกราบทูลพระเจ้าพรหมทัตให้ทรงทราบความจริง เอื้อยได้ร้อยพวงมาลัยฝากไปถวายพระเจ้าพรหมทัตด้วย ลบเดินทางมาถึงพระราชวัง ก็พยายามหาทางจนได้โอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้าพรหมทัตและถวายพวงมาลัย พระเจ้าพรหมทัตเห็นฝีมือร้อยมาลัยก็จดจำได้ว่าเป็นฝีมือของเอื้อย ลบจึงกราบทูลเรื่องราวของเอื้อยถวาย พระเจ้าพรหมทัตดีพระทัยที่เอื้อยยังมีชีวิตอยู่ และทรงกริ้วที่ขนิษฐีกับลูกสาวทั้งสองก่อกรรมทำเข็ญไว้กับเอื้อย จึงให้คุมขังสามแม่ลูกเพื่อรอการประหาร และเสด็จไปรับเอื้อยกลับคืนสู่พระราชวัง
เมื่อทราบว่าสามแม่ลูกจะถูกประหารชีวิต เอื้อยจึงขอพระราชทานอภัยโทษจากพระเจ้าพรหมทัต ให้ลงโทษด้วยการขับออกนอกวังกลับบ้านไป และให้ถือศีลบำเพ็ญความดีตลอดชีวิต เอื้อยและต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทองก็มีชีวิตที่สงบสุข นับจากนั้นเป็นต้นมาายผู้หนึ่งชื่อ นายทอง เป็นชาวบ้านเมืองพาราณสี นายทองมีภรรยา ๒ คนชื่อขนิษฐาและขนิษฐี ขนิษฐาเป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตา โอบอ้อม ไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ขนิษฐามี ลูกสาวที่สวยน่ารัก ๑ คนชื่อ เอื้อย ซึ่งเป็นเด็กสาวที่มีจิตใจดีงาม
ขนิษฐี ภรรยาอีกคนหนึ่งของนายทอง เป็นผู้ที่มีจิตใจหยาบกระด้าง อิจฉาริษยาขนิษฐาและเอื้อยอยู่ตลอดเวลา ขนิษฐีมีลูกสาววัยไล่เลี่ยกับเอื้อย ๒ คน ชื่ออ้ายกับอี่ ซึ่งอุปนิสัยและจิตใจเช่นเดียวกับผู้เป็นแม่ ขนิษฐีและลูกสาวทั้งสองมักหาโอกาสกลั่นแกล้ง รังแกขนิษฐาและเอื้อยโดยหวังกำจัดให้พ้นไปจากบ้าน
วันหนึ่งนายทองออกไปจับปลาตั้งแต่เช้าจนเที่ยงได้ปลาบู่มาหนึ่งตัว จึงนำมาบ้าน ให้ขนิษฐาทำต้มยำปลาบู่ ขนิษฐาพยายามขอชีวิตปลาบู่ไว้แต่ไม่สำเร็จ จึงทำทีว่าจะฆ่า ปลาบู่แล้วแกล้งปล่อยให้หนีลงน้ำไป นายทองและขนิษฐีโกรธจัดจับขนิษฐาลงเรือบังคับให้ ออกไปจับปลากลับมาทำอาหาร แต่ขนิษฐาไม่สามารถจับปลาได้ ซ้ำยังประสบอุบัติเหตุ จนตกจากเรือจมน้ำเสียชีวิตไป ขนิษฐีอยู่บนบ้านเห็นขนิษฐาตกน้ำก็ดีใจ และไม่ได้ช่วยเหลือ แต่อย่างใด เอื้อยกลับมาบ้านในตอนเย็นและทราบว่าแม่ตกน้ำหายไปก็ร้องให้เศร้าโศกเสียใจ
ด้วยผลแห่งกรรมดีที่ขนิษฐากระทำไว้ เทวดาจึงยอมให้ขนิษฐาซึ่งเป็นนางฟ้าอยู่บน สวรรค์กลับลงมาอยู่ใกล้ๆ เอื้อยในร่างของปลาบู่ทอง เมื่อเอื้อยรู้ว่าแม่กลับมาเกิดเป็นปลา บู่ทองอยู่ที่ท่าน้ำก็ดีใจ ทุกวันเอื้อยจะมาพูดคุย และนำอาหารมาให้แม่ปลาบู่ทอง ขนิษฐีและ ลูกๆ สงสัยที่เห็นเอื้อยมีความสุข จึงมดีตลอดชีวิต เอื้อยและต้นโพธิ์เงินโพธิ์ทองก็มีชีวิตที่สงบสุข นับจากนั้นเป็นต้นมา

1 ความคิดเห็น:

เทพสามฤดู

เทพสามฤดู   เป็นนิทาน พื้นบ้านของไทย ปรากฏเป็นหนังสือครั้งแรก โดยพิมพ์ที่โรงพิมพ์วัดเกาะ   เคย ถูกสร้างเป็นละคร  ในปี 2517 ในชื่อ ฝนสามฤดู ...